รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ 30 Young แจ๋ว สุพรรณหงส์2566
Posted 2023/05/22 47 0
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (Best Picture) ที่ชนะ สุพรรณหงส์2566
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ หลังจากที่มีกระแสกับกรณี เกี่ยวกับการพิจารณาเกณฑ์ภาพยนตร์ เพื่อเข้าประกวดรางวัลแห่งชาติ ซึ่งมีแฮชแทค แบนสุพรรณหงส์ ที่ขึ้นติดอันดับ 1 บนทวิตเตอร์ ที่เกิดข้อพิพากษ์กันว่า กติกาไม่เป็นธรรมในการตัดสิน สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าชิงรางวัล รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคล ในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์
เป็นที่ถกเถียงกันสนั่นโซเซียล โดยสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ มีมายาวนานกว่า 30 ปี จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน 2565 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย รอยัล แกรนด์เธียเตอร์ ชั้น 6 พารากอน ซีนีเพล็กซ์ ซึ่งประกาศหลักเกณ์ใหม่แบบกระทันหัน “ต้องฉายในโรงภาพยนตร์ครบทั้ง 5 ภูมิภาคในไทย” ขณะที่ผู้กำกับ คนในวงการภาพยนตร์ ทยอยถอนตัวไม่เข้าชิง – ไม่ร่วมงาน ด้านหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล หรือคุณชายอดัม ผู้กำกับภาพยนตร์ ก็ได้ออกมาแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าว สุพรรณหงส์ ประวัติ
โดยเผยว่าตนได้ถามไปทางสุพรรณหงส์เกี่ยวกับเกณฑ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับคำตอบว่า ไม่สามารถปรับเปลี่ยนกติกาได้แล้วเพราะเวลาไม่ทัน และจะพิจารณาใหม่ในปีหน้า สุพรรณหงส์2566 ตนจึงขอไม่ร่วมงานสุพรรณหงส์ในปีนี้ และอนาคตอาจจะงดส่งหนังเข้าชิงรางวัลในประเทศอีกแล้ว สุดท้ายทางสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ก็ได้ออกมาแถลงการณ์ งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ
รางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 31 มีมติเรื่องของหลักเกณ์ การพิจารณาภาพยนตร์ไทยที่สามารถ ส่งประกวดเข้าชิงรางวัลได้ เพื่อปรับเปลี่ยนให้โอกาสของภาพยนตร์ไทย มีความหลากหลายและครอบคลุมว่า “ภาพยนตร์ไทยที่มีความยาวไม่น้อยกว่า 60 นาที เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565 โดยเป็นการฉายในโรงภาพยนตร์หรือ สถานที่อื่นใดที่มีการจัดฉายภาพยนตร์ ในเชิงพาณิชย์ในประเทศไทย และมีระยะเวลาการฉายไม่น้อยกว่า 7วัน”
สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ขออภัยต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอขอบคุณทุกท่าน ที่สนับสนุนภาพยนตร์ไทยมาโดยตลอด สมาพันธ์ฯ ยินดีรับฟังความคิดเห็นเพื่อร่วมพัฒนา อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ วันที่ 31 มีนาคม 2566 บทความนี้ขอแนะนำ 5 ภาพยนตร์ที่ได้รางวัลก่อนลุ้น สุพรรณหงส์2566 มาดูว่าทำไมถึงได้รางวัลมีเรื่องอะไรบ้าง ที่น่าดูใครยังไม่ได้ดูไม่ควรพลาด
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ | ร่างทรง (The Medium) : Showbox and Northern Cross และ จีดีเอช ห้าห้าเก้า
เป็นภาพยนตร์ไทยแนวระทึกขวัญ–สยองขวัญ ร่วมทุนผลิตโดยจีดีเอช จากประเทศไทย และ โชว์บอกซ์ จากประเทศเกาหลีใต้ กำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกูล และอำนวยการสร้างโดย นา ฮง-จิน เข้าฉายรอบปฐมทัศน์ในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติพูช็อน ครั้งที่ 25 เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 256 และภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
นอกจากนี้สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้เสนอชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นตัวแทนจากประเทศไทย เข้าชิงรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 94 สาขาภาพยนตร์นานาชาติยอดเยี่ยมแต่ไม่ได้ถูกรับเลือกให้เข้าชิง หนัง ร่างทรง บอกเล่าเรื่องราวของครอบครัวหนึ่งในภาคอีสาน ประเทศไทย ที่สืบเชื้อสายร่างทรง “เทพบาหยัน” มาหลายชั่วอายุคน งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์ สุพรรณหงส์2566
ซึ่งเชื่อกันว่าจะเลือกแต่ร่างของผู้หญิงเพื่อสืบทอดทายาท โดยมี “นิ่ม” (เอี้ยง สวนีย์ อุทุมมา) เป็นผู้สืบทอดสายเลือดร่างทรงคนปัจจุบัน ก่อนที่จะพบว่าเริ่มมีอาการแปลกประหลาดหลายอย่างเกิดขึ้นกับ “มิ้ง” (ญดา นริลญา กุลมงคลเพชร) หลานสาวคนเดียวของตระกูลที่คาดกันว่าน่าจะถูกรับเลือกให้เป็นทายาทร่างทรงคนต่อไป แต่มิ้งกลับมีอาการน่ากลัวขึ้นเรื่อยๆ จนสมาชิกในครอบครัวเริ่มสงสัยกันว่าสิ่งที่เข้ามาอยู่ในร่างของมิ้ง
อาจจะไม่ใช่เทพบาหยัน อย่างที่ทุกคนคิดเข้าทรงหนึ่งในสมาชิกของครอบครัวนั้น อาจไม่ใช่วิญญาณดีอย่างที่พวกเขาคิด จากตัวอย่างหนังร่างทรง จะเห็นได้ว่ามีพิธีกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเรียกผี เข้าทรง และการทำคุณไสย ซึ่งบรรยากาศของหนังจะค่อย ๆ น่ากลัวขึ้นเรื่อย ๆ จากตัวอย่างแม้เราจะยังไม่รู้รายละเอียดของหนังมากเท่าไรนัก แต่ก็พอจะเดาทิศทางของหนังได้ว่าเป็นหนังสยองขวัญ ที่ชวนหลอนแบบที่คนดูคาดเดาได้ยากอย่างแน่นอน
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ | 4 Kings : เนรมิตรหนัง ฟิล์ม
อาชีวะ ยุค 90’s ถือเป็นภาพยนตร์น้ำดีที่ตีแผ่สะท้อนปัญหาของสังคมไทยอีกเรื่องหนึ่ง โดยเหล่าผู้สร้างได้มุ่งหวังให้เป็นอุทาหรณ์สะท้อนปัญหาสังคม และความจริงอีกมุมของกลุ่มนักเรียนนักศึกษาสายอาชีพในยุคอดีตที่ผ่านมา โดยถ่ายทอดผ่านเรื่องราวชีวิตของเด็กอาชีวะในยุค 90 กลุ่มหนึ่ง แบบตีแผ่บทเรียนชีวิตที่พวกเขาได้พบเจอ พร้อมนำเสนอตัวอย่างบทเรียนชีวิตที่ก้าวผิดเหล่านั้น งานสุพรรณหงส์
จากเหตุการณ์จริงของเรื่องราวความขัดแย้งระหว่างนักเรียนช่างต่างสถาบัน สู่ภาพยนตร์ที่ถ่ายทอดบทเรียนชีวิตที่พวกเขาได้พบเจอ เมื่อความคึกคะนองในช่วงวัย สร้างมิตรภาพ และศัตรูมาพร้อมกัน รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์
พญาโศกพิโยคค่ำ : 185 ฟิล์มส์
สำหรับเนื้อหาได้รับแรงบันดาลใจมาจากเนื้อหาบทหนึ่งในหนังสือ สันติปรีดี ของนักเขียน ชมัยภร แสงกระจ่าง โดยภาพยนตร์จะพาผู้ชมไปติดตามเรื่องราวในวัยเด็กของ พลอย (โดนัท-มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล) หญิงสาวที่อยู่ในภาวะโคม่า อีกทั้งพ่อของเธอยังได้หายตัวไปนานกว่า 3 ปี ส่วนแม่ก็กำลังป่วยทางจิต
นำแสดงโดย โดนัท-มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล ผู้กำกับและนักแสดงหญิงจากละคร สุดแค้นแสนรัก (2558), ชลัฏ ณ สงขลา จากภาพยนตร์ ลองของ (2548), สุนิดา รัตนากร และ ชมัยภร แสงกระจ่าง สุพรรณหงส์2566 งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์
ส้มป่อย : เอ็ม พิคเจอร์ส
“ส้มป่อย” หญิงสาวผู้ลบภาพ “เอื้องเหนือ” ผู้เรียบร้อยฉบับต๊ะต่อนยอน ให้กลายเป็น คนตรงไปตรงมา พร้อมพุ่งชน ส้มป่อยเป็นตัวแทนของสาวในยุคปัจจุบันที่มองว่ามันหมดยุคของผู้หญิงที่จะต้องเก็บความรู้สึกไว้อยู่ฝ่ายเดียวและสุดท้ายก็ต้องนอนเฉาตายอยู่บนคานทอง สาวลำพูน สาวโสดขาแรง สายฮา ที่ไม่อยากติดแหง็กใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ในบ้านเกิด การได้แฟนดีๆ ไปใช้ชีวิตคูล ๆ อยู่กรุงเทพฯ ถือเป็นลาภอันประเสริฐ
ความหวังเดียวที่จะช่วยให้ฝันเป็นจริงคือต้องหาแฟนเป็นหนุ่มชาวกรุง และแล้วฟ้าก็ประทาน “แวน” ยูทูปเบอร์สายท่องเที่ยวมาให้ ส้มป่อยจึงโร่ปรึกษา “แซ้ป” เจ้าเข้าทรงสายแว้นท์นั่งทางในหากลเม็ดมัดใจผู้บ่าวเมืองกรุง โดยที่ส้มป่อยไม่รู้เลยว่าแซ้ปแอบชอบเธอ จู่ ๆ เสน่ห์ก็แรงขึ้นมา ส้มป่อยจะเดินหน้าอ่อยแวนต่อ หรือพอแค่นี้ ก็ต้องตามไปลุ้นกัน รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ
เอหิปัสสิโก (Come And See) : อันเดอร์ด็อค ฟิล์ม
สารคดีไทยที่ชวนถกเรื่องศาสนาและความเชื่อวัดธรรมกาย มีกระแสมาแรงงจากข่าวการเกือบโดนแบนจากกองเซนเซอร์ แต่สิ่งที่น่าทึ่งคือจำนวนคนดูที่แน่นโรง เพราะเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่ค่อยได้เห็นในการฉายหนังแนวนี้ อาจเป็นเพราะสิ่งที่เคยได้ยินเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายตลอดหลายปีที่ผ่านมา และความลึกลับอันชวนสงสัยว่า “หลังกำแพงวัดในตึกรูปทรงกลม หรือใต้จานบินนั้นมีอะไรหนอ” สุพรรณหงส์2566 งานประกาศรางวัลที่มีความสำคัญกับแวดวงภาพยนตร์
เป็นหนังสารคดีที่จะพาคนดูไปสำรวจมุมมองต่างๆ ในเหตุการณ์เมื่อปี 2560 ที่เกิดขึ้นกับวัดพระธรรมกาย ผ่านการนำเสนออย่างเป็นกลางและตรงกลาง เมื่อครั้ง พระธัมมชโย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ได้ถูกกล่าวหาว่าเข้าไปมีส่วนเกี่ยวพันกับคดียักยอกทรัพย์สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น นำมาสู่กระบวนการแนวคิดมากมายผ่านมุมมองของคนหลายๆ คน ทั้งผู้ที่เคารพศรัทธา หรือผู้ที่เลิกให้ความศรัทธา และผู้ที่ตั้งแง่กับลัทธิศาสนาแห่งนี้
Sources : mpc
อ่านต่อ>>>หนังไทยที่ดังระดับโลก