วันภาพยนตร์แห่งชาติ วันภาพยนตร์ไทยครบ 100 ปี วันภาพยนตร์โลก

Posted 2023/04/03 70 0

วันภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นวันที่กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้พระราชทานขึ้น วันภาพยนตร์โลก เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

วันภาพยนตร์แห่งชาติ หรือ วันหนังไทย ตรงกับวันที่4 เมษายนของทุกปี เป็นวันที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานให้วันนี้ เป็นวันภาพยนตร์แห่งชาติ โดยเดิมสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ซึ่งในอดีตได้มีการจัดการประกวด ประกาศผลภาพยนตร์แห่งชาติ และจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อหนังไทย วันภาพยนตร์โลก

ภาพยนตร์ คืออะไร ภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพเรียงติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ใช้หลักการที่เรียกว่าการเห็นภาพติดตา และเมื่อนำเอาภาพนิ่งเหล่านั้น มาฉายดูทีละภาพ ด้วยอัตราความเร็ว ในการฉายต่อภาพเท่า ๆ กันตามที่สายตาคนเรา จะยังคงรักษาภาพไว้ ที่เรติน่าเป็นช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ประมาณ 1 ส่วน 3 วินาที ถ้าหากภายในระยะเวลาดังกล่าว มีอีกภาพแทรกเข้ามาแทนที่ สมองของคนจะทำการเชื่อมโยง สองภาพเข้าด้วยกัน

และจะทำหน้าที่ดังกล่าวต่อไปเรื่อย ๆ หากมีภาพต่อไป ปรากฏในเวลาใกล้เคียงกัน ปัจจุบันความเร็วที่ใช้ ในการถ่ายทำคือ 24 เฟรม ต่อ 1 วินาที หลายคนอาจไม่รู้ว่า… หนังไทยเรื่องแรกที่เข้าฉายเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 คือ นางสาวสุวรรณ ซึ่งหลังจากนั้นเป็นต้นมา หนังไทยก็มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ผ่านมาแล้วทั้งยุคเฟื่องฟู และยุคที่เงียบเหงา

ต่อมาได้มีการพัฒนาภาพยนตร์เป็นสามมิติ โดยให้ผู้ชมสวมใส่แว่นตาพิเศษ เพื่อให้ได้อรรถรสในการชม ภาพที่เห็นมีมิติความลึกสมจริง ซึ่งในปี พ.ศ. 2495 ภาพยนตร์อเมริกันเรื่อง Bwana Evil เป็นภาพยนตร์สามมิติเรื่องแรกที่สร้างขึ้น 4 เมษายน วันเกิด เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

วันภาพยนตร์แห่งชาติ

วันภาพยนตร์แห่งชาติ ผู้ประดิษฐ์ต้นแบบของภาพยนตร์คือใคร

ผู้ที่คิดประดิษฐ์ต้นแบบของภาพยนตร์คือ โทมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Adison) และ วิลเลียม เคนเนดี้ ดิคสัน (William kenady dickson) โดยเรียกว่า Kinetoscope มีลักษณะเป็นตู้สูงประมาณ 4 ฟุต ซึ่งมักเรียกชื่อว่าถ้ำมอง เพราะมีลักษณะการดูผ่านช่องเล็ก ๆ ดูได้ที่ละคน ซึ่งภายในมีฟิล์มภาพยนตร์ถ่ายด้วยกล้องคิเนโตกราฟที่เอดิสันประดิษฐ์ขึ้นเอง โดยมีฟิล์มยาวประมาณ 50 ฟุตวางพาดไปมาเคลื่อนที่เป็นวงรอบ ผ่านช่องที่มีแว่นขยายกับหลอดไฟฟ้าด้วยความเร็ว 48 ภาพต่อวินาที ต่อมาลดลงเหลือ 16 ภาพต่อวินาที วันภาพยนตร์แห่งชาติ วันภาพยนตร์โลก

ต่อมา พี่น้องตระกูลลูมิแอร์ชาวฝรั่งเศส ได้พัฒนาภาพยนตร์ถ้ำมองของเอดิสัน ให้สามารถฉายขึ้นจอขนาดใหญ่ และดูได้พร้อมกันหลายคน ซึ่งเรียกเครื่องฉายภาพยนตร์แบบนี้ว่า Cinematograph จึงทำให้ภาพยนตร์ถือกำเนิดขึ้น อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2438 และได้นำออกมาฉายตามเมืองใหญ่ ๆ ทั่วโลกตั้งแต่ พ.ศ. 2439 เป็นต้นมา และใช้คำว่า Cinema เรียกเกี่ยวกับภาพยนตร์มาถึงปัจจุบัน 4 เมษายน วันสําคัญ เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

วันภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติจัดตั้งเมื่อใด

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ อักษรย่อว่า ‘สสภช’ เดิมชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ โดย สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2534 เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ในวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย ที่เกิดขึ้นในแต่ละสาขาอาชีพ ที่กระจัดกระจายอยู่ในวงการ วันภาพยนตร์แห่งชาติ

ดังนั้น จึงได้มีการรวมกลุ่มกัน ระหว่างบุคคลในวงการภาพยนตร์ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมของความ คิดเห็น การพัฒนา การดำรงไว้ ซึ่งอุตสาหกรรมภาพยนตร์แห่งชาติ และเพื่อร่วมกันสร้างสรรค์จรรโลงภาพยนตร์ ให้มีการเติบโตยิ่งขึ้นมั่นคงสืบไป วันภาพยนตร์โลก เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

โดยมี 11 สาขาอาชีพ ประกอบด้วย ผู้ประกอบการในสาขาผู้อำนวยการสร้าง สาขาโรงภาพยนตร์ สาขาผู้จัดจำหน่าย สาขาผู้กำกับ สาขาดารา – นักแสดง สาขาทีมงานสร้าง สาขานักพากย์ สาขาแลป สาขาผู้สื่อข่าวบันเทิง สาขานักวิชาการภาพยนตร์ สาขาผู้ผลิตและจำหน่ายวีดิทัศน์ โดยมีคณะกรรมการสมาคมและคณะกรรมการบริหาร สมาพันธ์ฯ เข้ามาบริหารจัดการองค์กร ให้มีการพัฒนาขึ้นตามลำดับ วันหนังไทย

วันภาพยนตร์แห่งชาติ

กระแสหลักเกณฑ์การพิจารณาภาพยนตร์ใหม่ใน วันภาพยนตร์ไทยครบ 100 ปี

เมื่อ วันภาพยนตร์แห่งชาติ เปิดที่มาของวันหนังไทย พร้อมเปิดหลักเกณฑ์การพิจารณาภาพยนตร์ใหม่ ของสุพรรณหงส์ หลังเกิด #แบนสุพรรณหงส์ วันภาพยนตร์แห่งชาติ หรือวันหนังไทย ของทุกปี โดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานให้วันนี้เป็น วันภาพยนตร์แห่งชาติ เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย โดยเดิมสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ วันภาพยนตร์โลก

จากเหตุการณ์การติดแฮชแทก #แบนสุพรรณหงส์ จนทำให้ล่าสุด ทาง สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ต้องออกแถลงการณ์ขออภัยต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และได้มีการออกหลักเกณฑ์การพิจารณาภาพยนตร์ใหม่ ซึ่งจากเดิมที่มีหลักเกณฑ์ว่า

  • ต้องฉายในโรงภาพยนตร์เท่านั้น
  • ต้องฉายในโรงครบทั้ง 5 ภูมิภาค คือ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ชลบุรี นครราชสีมา และนครศรีธรรมราช
  • ต้องมียอดผู้ชมไม่ต่ำกว่า 50,000 คน

ซึ่งหลักเกณฑ์นี้ทำให้หลายภาพยนตร์ไม่ผ่านหลักเกณฑ์ จนทำให้เกิด #แบนสุพรรณหงส์ เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย จนต้องออกหลักเกณฑ์การพิจารณาใหม่ ดังนี้

  • ภาพยนตร์ไทยที่มีความยาวไม่น้อยกว่า 60 นาที
  • เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565
  • เป็นการฉายในโรงภาพยนตร์ หรือสถานที่อื่นใดที่มีการจัดฉายภาพยนตร์ใน เชิงพาณิชย์ในประเทศไทย
  • มีระยะเวลาการฉายไม่น้อยกว่า 7 วัน

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้ขออภัยต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอขอบคุณทุกท่านที่สนับสนุนภาพยนตร์ไทยมาโดยตลอด สมาพันธ์ยินดีรับฟังความคิดเห็นเพื่อร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป วันที่ 4 เมษายน 2566 เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

นอกจากจะได้มีการจัดการประกวดประกาศผลภาพยนตร์แห่งชาติแล้ว ยังได้จัดกิจกรรมพิเศษเพื่อหนังไทยขึ้นมาอีกงานควบคู่กันไป ในวันที่ 4เมษายน แต่ต่อมาได้ย้ายประกาศผลภาพยนตร์ มาอยู่ในช่วงเดือนมกราคม วันภาพยนตร์โลก

บันเทิงภาพยนตร์กับวันหนังไทยแห่งชาติ สุพรรณหงส์ครั้งที่ 30

วันภาพยนตร์แห่งชาติ

ในวันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน 2566 ที่ผ่านมาจากกระแสที่โซเชียลแห่ติดแฮชแท็ก #แบนสุพรรณหงส์ หลายคนก็ให้ความสนใจ ล่าสุดทางด้าน สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติจึงได้ออกแถลงการณ์ข้อสรุปถึงกรณีดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อย อนุกรรมการอำนวยการจัดงานรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 31 ลงมติปรับเกณฑ์พิจารณา พร้อมกล่าวขออภัย

หลังจากกระแสร้อนทั้งผู้กำกับ ผู้สร้าง นักวิจารณ์ จนกระทั่งถึงนักแสดงภาพยนตร์ไทย จนไปถึงผู้รับชมภาพยนตร์ทั้งหลาย ซึ่งมีชนวนจากเกณฑ์ในการคัดเลือกภาพยนตร์ เพื่อพิจารณารางวัลสุพรรณหงส์ ที่ถูกวิจารณ์ว่าเอื้อเฉพาะภาพยนตร์ทุนใหญ่ และกีดกันภาพยนตร์ที่มีทุนไม่สูง

สะท้อนปัญหาผ่าน นายศราวุธ แก้วน้ำเย็น อาร์ตไดเรคเตอร์ ของภาพยนตร์ เวลา (Anatomy of Time) ที่ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟสบุ๊คส่วนตัว ศราวุธ แก้วน้ำเย็น ตั้งคำถามต่อคณะกรรมการผู้พิจารณาคุณสมบัติว่า ผิดด้วยหรือ ที่เป็นหนังทุนต่ำ ไม่สามารถขอเข้าฉายในโรงภาพยนตร์รายใหญ่ได้ครบทุกภาค หรือถูกตัดรอบฉายลง แต่ได้ฉายในสตรีมมิ่งอันดับต้นของโลก

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้ออกแถลงการณ์ เมื่อ(31 มี.ค.) ต่อกรณีที่เกิดขึ้น โดยระบุถึงกระแสต่อกรณีเกณฑ์การพิจารณาภาพยนตร์ไทยเพื่อเข้าประกวดรางวัลสุพรรณหงส์ โดยระบุถึงผลการประชุมหารือ ของคณะอนุกรรมการอำนวยการจัดงานรางวัลสุพรรณหงส์ ครั้งที่ 31

โดยสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้มีมติเรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาภาพยนตร์ไทยที่สามารถส่งประกวดเข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ให้เป็นไปเพื่อเปิดโอกาสให้กับภาพยนตร์ไทยที่หลากหลายและครอบคลุม โดยกำหนดให้ ต้องเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีความยาวไม่น้อยกว่า 60 นาที เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565 โดยเป็นการฉายในโรงภาพยนตร์ หรือสถานที่อื่นใดที่มีการจัดฉายภาพยนตร์ใน เชิงพาณิชย์ในประเทศไทย และมีระยะเวลาการฉายไม่น้อยกว่า 7 วัน

พร้อมทั้งขออภัยต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอบคุณทุกท่านที่สนับสนุนภาพยนตร์ไทยมาโดยตลอด และระบุในแถลงการณ์ด้วยว่า สมาพันธ์ฯ ยินดีรับฟังความคิดเห็นเพื่อร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป หนัง เดือนเมษายน 2566 วันภาพยนตร์โลก เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทย

วันภาพยนตร์โลก 28 ธันวาคม พ.ศ.2438 วันกำเนิดภาพยนตร์โลก เมื่อ หลุยส์ และ ออกุส ลูมิแยร์ (Louise and Auguste Lumiere) พี่น้องชาวฝรั่งเศส คิดค้นกล้องถ่ายและฉายภาพยนตร์ที่เรียกว่า Cinematopraph ทำให้ภาพยนตร์ถือกำเนิดอย่างสมบูรณ์เป็นทางการครั้งแรก โดยจัดฉายภาพยนตร์ให้สาธารณชนได้ชมครั้งแรกในห้องใต้ถุนของร้านกาแฟ Grand cafe ณ กรุงปารีส ฝรั่งเศส โดยใช้เครื่อง ซีเนมาโตกราฟ (Cinematopraph) ซึ่งเป็นทั้งเครื่องถ่ายและฉายภาพยนตร์ในเครื่องเดียวกัน

 

อ่านต่อ>>>รายชื่อหนังรางวัลออสการ์

แทงบอลออนไลน์

สมัครคาสิโน